วิทยาการคำนวณระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5

(Computing Science M.5)

ภาพจากหนังสือ สสวท.

วิทยาการข้อมูล ระดับ ม.5

(CSM501)

เรียนแล้วได้อะไร

สามารถรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาหรือเพิ่มมูลค่าให้กับบริการ (Service) หรือผลิตภัณฑ์ (Product) ที่ใช้ในชีวิตจริงอย่างสร้างสรรค์

เรียนแล้วเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 อะไร

  1. ทักษะการแก้ปัญหา

  2. ทักษะการคิดวิเคราะห์

  3. ทักษะการสืบค้นข้อมูล

  4. ทักษะการรู้สารสนเทศ

  5. ทักษะการคิดเชิงออกแบบ

  6. ทักษะการนำเสนอ

  7. ทักษะการคิดสร้างสรรค์

  8. ทักษะการสื่อสารและร่วมมือ

  9. ทักษะการคิดเชิงคำนวณ

เนื้อหาความรู้

หลักการของวิทยาการข้อมูล และหลักการคิดเชิงออกแบบเพื่อเพิ่มมูลค่าให้บริการหรือผลิตภัณฑ์ วิธีการเก็บข้อมูลและเตรียมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การแปลงข้อมูลให้เป็นภาพ การเลือกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้ประโยชน์จากข้อมูลและตัวอย่างกรณีศึกษา

คณะผู้สอน

การอบรม

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร "การจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ" วิชาวิทยาการคำนวณ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร " Python101 - เตรียมตัวเป็น Data Science" สมาคมศึกษาและพัฒนาโอเพ่นซอร์ส (OSEDA)

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร “Pentaho BI: From Business intelligence to Data Science” สมาคมศูนย์วิชาการไทย-ออสเตรเลีย (TATSC) 

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร “Big Data Workshop with Pentaho Hadoop &Spark” สมาคมศูนย์วิชาการไทย-ออสเตรเลีย (TATSC) 

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร “Big Data with Hadoop” สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) 

การศึกษา

  • สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

  • สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • สาขาคณิตศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • สาขาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์

  • ประสบการณ์โดยตรงในการใช้กระบวนการวิทยาการข้อมูล (Data Science Process) ในการทำวิจัย

  • ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

  • ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย

  • เป็นผู้ช่วยสอน วิชาการเขียนโปรแกรม ระดับปริญญาตรี ภาควิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • สมาคมสารสนเทศนานาชาติ (iSchool) คณะวิศวกรรมศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนอร์ทธัมเบรีย ประเทศอังกฤษ


สื่อและอุปกรณ์

1. ชุดฝึกทักษะ ดร.โค้ด  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

2. หนังสือเรียน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

3. โน้ตบุค 

สมัครเรียน

การเขียนโปรแกรมสำหรับวิทยาการข้อมูล ระดับ ม.5

(CSM502)

เรียนแล้วได้อะไร

สามารถเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้แนวคิดในการรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาหรือเพิ่มมูลค่าให้กับบริการ (Service) หรือผลิตภัณฑ์ (Product) ที่ใช้ในชีวิตจริงอย่างสร้างสรรค์

เรียนแล้วเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 อะไร

  1. ทักษะการเขียนโปรแกรม

  2. ทักษะการแก้ปัญหา

  3. ทักษะการคิดวิเคราะห์

  4. ทักษะการคิดเชิงออกแบบ

  5. ทักษะการนำเสนอ

  6. ทักษะการคิดสร้างสรรค์

  7. ทักษะการสื่อสารและร่วมมือ

  8. ทักษะการคิดเชิงคำนวณ

เนื้อหาความรู้

การเขียนโปรแกรมสำหรับวิทยาการข้อมูล ตามหลักการของวิทยาการข้อมูล และหลักการคิดเชิงออกแบบเพื่อเพิ่มมูลค่าให้บริการหรือผลิตภัณฑ์ วิธีการเก็บข้อมูลและเตรียมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การแปลงข้อมูลให้เป็นภาพ

คณะผู้สอน

การอบรม

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร "การจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ" วิชาวิทยาการคำนวณ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร " Python101 - เตรียมตัวเป็น Data Science" สมาคมศึกษาและพัฒนาโอเพ่นซอร์ส (OSEDA)

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร “Pentaho BI: From Business intelligence to Data Science” สมาคมศูนย์วิชาการไทย-ออสเตรเลีย (TATSC) 

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร “Big Data Workshop with Pentaho Hadoop &Spark” สมาคมศูนย์วิชาการไทย-ออสเตรเลีย (TATSC) 

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร “Big Data with Hadoop” สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) 

การศึกษา

  • สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

  • สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • สาขาคณิตศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • สาขาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์

  • ประสบการณ์โดยตรงในการใช้กระบวนการวิทยาการข้อมูล (Data Science Process) ในการทำวิจัย

  • ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

  • ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย

  • เป็นผู้ช่วยสอน วิชาการเขียนโปรแกรม ระดับปริญญาตรี ภาควิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • กลุ่มวิจัยนวัตกรรมการจัดการสารสนเทศ (Information Management Innovation Research Group) คณะการคำนวณ วิศวกรรมศาสตร์และวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนอร์ทธัมเบรีย ประเทศอังกฤษ


สื่อและอุปกรณ์

1. ชุดฝึกทักษะ ดร.โค้ด  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

2. หนังสือเรียน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

3.  โปรแกรมภาษาไพทอน (Python)

สมัครเรียน