วิทยาการคำนวณระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4

(Computing Science M.4)

ภาพจากหนังสือ สสวท.

โครงงาน ระดับ ม.4

(CSM401)

เรียนแล้วได้อะไร

สามารถประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์ และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง

เรียนแล้วเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 อะไร

  1. ทักษะการคิดวิเคราะห์

  2. ทักษะการแก้ปัญหา

  3. ทักษะการคิดเชิงคำนวณ

  4. ทักษะการโปรแกรม

  5. ทักษะการคิดสังเคราะห์

  6. ทักษะการสื่อสารและการร่วมมือ

  7. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

  8. ทักษะการคิดสร้างสรรค์

เนื้อหาความรู้

ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา (Decomposition) การหารูปแบบ (Pattern Recognition) การคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) ตัวอย่างและประโยชน์ของแนวคิดเชิงคำนวณเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการออกแบบขั้นตอนวิธี (Algorithms) สำหรับแก้ปัญหา การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา การออกแบบขั้นตอนวิธี การทำซ้า การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล ตัวอย่างการออกแบบขั้นตอนวิธีเพื่อแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

คณะผู้สอน

การอบรม

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร "การจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ" วิชาวิทยาการคำนวณ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

  • เข้าร่วมอบรมโครงการ "Google Digital Garage" เมืองนิวคาสเซิล ประเทศอังกฤษ

การศึกษา

  • สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

  • สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • สาขาคณิตศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • สาขาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์

  • เป็นที่ปรึกษาและกรรมการสอบโครงงานคอมพิวเตอร์กว่า 50 โครงการ

  • ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

  • ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย

  • เป็นผู้ช่วยสอน วิชาการเขียนโปรแกรม ระดับปริญญาตรี ภาควิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • กลุ่มวิจัยธุรกิจดิจิทัล (Digital Business Research Group) คณะการจัดการธุรกิจและกฎหมาย มหาวิทยาลัยนอร์ทธัมเบรีย ประเทศอังกฤษ


สื่อและอุปกรณ์

1. ชุดฝึกทักษะ ดร.โค้ด  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

2. หนังสือเรียน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

3. โน้ตบุค 

การเขียนโปรแกรมแก้โจทย์ปัญหา ระดับ ม.4

(CSM402)

เรียนแล้วได้อะไร

สามารถเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์และเชื่อมโยงกับชีวิตจริง

เรียนแล้วเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 อะไร

  1. ทักษะการเขียนโปรแกรม

  2. ทักษะการคิดวิเคราะห์

  3. ทักษะการแก้ปัญหา

  4. ทักษะการคิดเชิงคำนวณ

  5. ทักษะการโปรแกรม

  6. ทักษะการคิดสร้างสรรค์

  7. ทักษะการสื่อสารและการร่วมมือ
     

เนื้อหาความรู้

ตัวอย่างโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information System Project) การกำหนดปัญหา ศึกษา วางแผน ดาเนินงาน สรุปผลและเผยแพร่ ในการพัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการร่วมกับวิชาอื่นและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง

คณะผู้สอน

การอบรม

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร "การจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ" วิชาวิทยาการคำนวณ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

  • เข้าร่วมอบรมโครงการ "Google Digital Garage" เมืองนิวคาสเซิล ประเทศอังกฤษ

การศึกษา

  • สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

  • สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • สาขาคณิตศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • สาขาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์

  • เป็นที่ปรึกษาและกรรมการสอบโครงงานคอมพิวเตอร์กว่า 50 โครงการ

  • ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

  • ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย

  • เป็นผู้ช่วยสอน วิชาการเขียนโปรแกรม ระดับปริญญาตรี ภาควิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • กลุ่มวิจัยนวัตกรรมการจัดการสารสนเทศ (Information Management Innovation Research Group) คณะการคำนวณ วิศวกรรมศาสตร์และวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนอร์ทธัมเบรีย ประเทศอังกฤษ


สื่อและอุปกรณ์

1. ชุดฝึกทักษะ ดร.โค้ด  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

2. หนังสือเรียน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

3.  โปรแกรมภาษาไพทอน (Python)