วิทยาการคำนวณระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2
(Computing Science M.2)
ภาพจากหนังสือ สสวท.
ทักษะการแก้โจทย์ปัญหา ระดับ ม.2
(CSM201)
เรียนแล้วได้อะไร
1. สามารถออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทางานที่พบในชีวิตจริง
2. สามารถอภิปรายองค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสาร เพื่อประยุกต์ใช้
งานหรือแก้ปัญหาเบื้องต้น
เรียนแล้วเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 อะไร
ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทักษะการแก้ปัญหา
ทักษะการคิดเชิงคำนวณ
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะในการทำงานร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ
ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เนื้อหาความรู้
แนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Concept) การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร นำแนวคิดเชิงคำนวณไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
คณะผู้สอน
การอบรม
-
ผ่านการอบรมหลักสูตร "การจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ" วิชาวิทยาการคำนวณ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
-
ผ่านการอบรมหลักสูตร "Python for Artificial Intelligence" สมาคมโปรแกรมเมอร์ไทย
-
ผ่านการอบรมหลักสูตร " Python101 - เตรียมตัวเป็น Data Science" สมาคมศึกษาและพัฒนาโอเพ่นซอร์ส (OSEDA)
การศึกษา
-
สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-
สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
-
สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
-
สาขาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-
สาขาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประสบการณ์
-
ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
-
ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย
-
เป็นผู้ช่วยสอน วิชาการเขียนโปรแกรม ระดับปริญญาตรี ภาควิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
สมาคมสารสนเทศนานาชาติ (iSchool) คณะวิศวกรรมศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนอร์ทธัมเบรีย ประเทศอังกฤษ
สื่อและอุปกรณ์
1. ชุดฝึกทักษะ ดร.โค้ด
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. หนังสือเรียน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
3. โน้ตบุค
การเขียนโปรแกรมแก้โจทย์ปัญหา ระดับ ม.2
(CSM202)
เรียนแล้วได้อะไร
1. สามารถออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา
เรียนแล้วเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 อะไร
-
ทักษะการเขียนโปรแกรม
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการคิดเชิงคำนวณ
-
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการทำงานร่วมกัน
เนื้อหาความรู้
การเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตรรกะ (Logic) และฟังก์ชัน (Function) นำแนวคิดเชิงคำนวณไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริง
คณะผู้สอน
การอบรม
-
ผ่านการอบรมหลักสูตร "การจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ" วิชาวิทยาการคำนวณ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
-
ผ่านการอบรมหลักสูตร "Python for Artificial Intelligence" สมาคมโปรแกรมเมอร์ไทย
-
ผ่านการอบรมหลักสูตร " Python101 - เตรียมตัวเป็น Data Science" สมาคมศึกษาและพัฒนาโอเพ่นซอร์ส (OSEDA)
การศึกษา
-
สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-
สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
-
สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
-
สาขาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
-
สาขาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประสบการณ์
-
ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
-
ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย
-
เป็นผู้ช่วยสอน วิชาการเขียนโปรแกรม ระดับปริญญาตรี ภาควิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
กลุ่มวิจัยนวัตกรรมการจัดการสารสนเทศ (Information Management Innovation Research Group) คณะการคำนวณ วิศวกรรมศาสตร์และวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนอร์ทธัมเบรีย ประเทศอังกฤษ
สื่อและอุปกรณ์
1. ชุดฝึกทักษะ ดร.โค้ด
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
2. หนังสือเรียน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
3. โปรแกรมภาษาสแครช (Scratch) หรือโปรแกรมภาษาไพทอน (Python)