วิทยาการคำนวณระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1

(Computing Science M.1)

ภาพจากหนังสือ สสวท.

ทักษะการแก้โจทย์ปัญหา ระดับ ม.1

(CSM101)

เรียนแล้วได้อะไร

1. สามารถออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพื่อแก้ปัญหาหรืออธิบายการทำงานที่พบในชีวิตจริง

2. สามารถรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย

3. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ใช้สื่อและแหล่งข้อมูลตามข้อกำหนดและข้อตกลง

เรียนแล้วเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 อะไร

  1. ทักษะการคิดวิเคราะห์

  2. ทักษะการแก้ปัญหา

  3. ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ

  4. ทักษะการคิดอย่างเป็นขั้นตอน

  5. ทักษะการคิดเชิงนามธรรม

  6. ทักษะการคิดสร้างสรรค์

  7. ทักษะการสื่อสาร

  8. ทักษะในการทำงานร่วมกัน

  9. ทักษะการค้นหาและประเมินข้อมูลข่าวสาร


เนื้อหาความรู้

แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) และการคัดเลือกคุณลักษณะที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหาที่กำหนด ขั้นตอนการแก้ปัญหา การเขียนรหัสลำลอง (Pseudo Code) และผังงาน (Flowchart) การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การประมวลผลข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผลเพื่อการตัดสินใจ ซอฟต์แวร์และบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการจัดการข้อมูล ข้อตกลงและข้อกำหนดการใช้สื่อและแหล่งข้อมูล

นำแนวคิดเชิงนามธรรมและขั้นตอนการแก้ปัญหาไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง นอกจากนั้น เรียนรู้การรวบรวมข้อมูลและสร้างทางเลือกในการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ

คณะผู้สอน

การอบรม

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร "การจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ" วิชาวิทยาการคำนวณ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร "Python for Artificial Intelligence" สมาคมโปรแกรมเมอร์ไทย

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร " Python101 - เตรียมตัวเป็น Data Science" สมาคมศึกษาและพัฒนาโอเพ่นซอร์ส (OSEDA)

การศึกษา

  • สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

  • สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • สาขาคณิตศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • สาขาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์

  • ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

  • ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย

  • เป็นผู้ช่วยสอน วิชาการเขียนโปรแกรม ระดับปริญญาตรี ภาควิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • กลุ่มวิจัยธุรกิจดิจิทัล (Digital Business Research Group) คณะการจัดการธุรกิจและกฎหมาย มหาวิทยาลัยนอร์ทธัมเบรีย ประเทศอังกฤษ

สื่อและอุปกรณ์

1. ชุดฝึกทักษะ ดร.โค้ด  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

2. หนังสือเรียน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

3. โน้ตบุค 

สมัครเรียน 

การเขียนโปรแกรมแก้โจทย์ปัญหา ระดับ ม.1

(CSM102)

เรียนแล้วได้อะไร

1. สามารถออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์

เรียนแล้วเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 อะไร

  1. ทักษะการเขียนโปรแกรม

  2. ทักษะการคิดวิเคราะห์

  3. ทักษะการแก้ปัญหา

  4. ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ

  5. ทักษะการคิดอย่างเป็นขั้นตอน

  6. ทักษะการคิดเชิงนามธรรม

  7. ทักษะการคิดสร้างสรรค์

  8. ทักษะการทำงานร่วมกัน


เนื้อหาความรู้

การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย การใช้งานตัวแปร คำสั่งเงื่อนไข และคำสั่งการวนซ้ำ เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ นอกจากนั้นการนำแนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) และขั้นตอนการแก้ปัญหาไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม

คณะผู้สอน

การอบรม

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร "การจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ" วิชาวิทยาการคำนวณ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 จากสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร "Python for Artificial Intelligence" สมาคมโปรแกรมเมอร์ไทย

  • ผ่านการอบรมหลักสูตร " Python101 - เตรียมตัวเป็น Data Science" สมาคมศึกษาและพัฒนาโอเพ่นซอร์ส (OSEDA)

การศึกษา

  • สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

  • สาขาวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • สาขาคณิตศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • สาขาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์

  • ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

  • ผ่านการฝึกสอนโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย

  • เป็นผู้ช่วยสอน วิชาการเขียนโปรแกรม ระดับปริญญาตรี ภาควิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • กลุ่มวิจัยนวัตกรรมการจัดการสารสนเทศ (Information Management Innovation Research Group) คณะการคำนวณ วิศวกรรมศาสตร์และวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนอร์ทธัมเบรีย ประเทศอังกฤษ

สื่อและอุปกรณ์

1. ชุดฝึกทักษะ ดร.โค้ด  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

2. หนังสือเรียน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

3. โปรแกรมภาษาสแครช (Scratch) หรือโปรแกรมภาษาไพทอน (Python)

สมัครเรียน